“ว่านชักมดลูก” ของไทย ตามบันทึกในตำรับยาแผนโบราณได้กล่าวไว้ว่า “ว่านชักมดลูก” มีคุณประโยชน์และให้ความปลอดภัยในการใช้สำหรับผู้หญิงมากกว่ากวาวเครือ เพราะว่านชักมดลูกมีฤทธิ์ทำให้กล้ามเนื้อกระชับ เสริมหน้าอก ทำให้ผิวพรรณขาวนวล ลบรอยเหี่ยวย่นได้ แต่ “ว่านชักมดลูก” มีคุณสมบัติที่พิเศษกว่า “กราวเครือ” คือ ช่วยรักษามดลูกที่ทรุดตัว หรือเรียกว่ามดลูกต่ำให้เข้าที่ นอกจากนี้ยังช่วยกระชับช่องคลอด กระชับหน้าท้องที่หย่อนยานอันเกิดจากการคลอดบุตร ทำให้หน้าท้องตึงเรียบเหมือนสาว ๆ และยังช่วยให้ผู้หญิงที่อารมณ์ทางเพศหายไป กลับมามีเหมือนเดิม “ว่านชักมดลูก” ยังช่วยให้ผู้หญิงที่มีอารมณ์ฉุนเฉียว จิตใจห่อเหี่ยว อ่อนไหวง่าย โกรธง่ายหายไป ทำให้คึกคักเข้มแข็งขึ้น อีกทั้งยังช่วยป้องกันมะเร็งปากช่องคลอด หรือภายในมดลูก ช่วยรักษาซีสต์ และเนื้องอกภายในช่องคลอดให้ฝ่อตัว หรือเล็กลงด้วย นอกจากนี้ยังช่วยลดอาการปวดประจำเดือนอย่างได้ผลชะงัก เพราะฉะนั้นหากจะเทียบกันแล้ว “ว่านชักมดลูก” จึงมีประโยชน์เหนือกว่ากราวเครือมาก
การใช้ว่านชักมดลูก เพียงอย่างเดียวจะให้สรรพคุณได้ไม่มากเท่าที่ควร ตามตำรายาโบราณได้ระบุถึงการนำสมุนไพรมาใช้งานว่า
ต้องปรุงขึ้นตามสูตรยานั้น ๆ และจำเป็นต้องอาศัยสมุนไพรอีกหลายชนิดผสมเข้าไป
จึงจะช่วยให้ออกฤทธิ์และได้ผลสูงสุด ซึ่งสรรพคุณของว่านชักมดลูกที่มีบันทึกตามตำรับยาแผนโบราณเมื่อหลายร้อยปีก่อน
ได้ระบุถึงผลการนำมาบำบัดอาการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับร่างกายไว้ว่า
· ช่วยกระชับช่องคลอดภายในสตรี
· ทำให้มีอารมณ์ทางเพศสมบูรณ์
· ดับกลิ่นปาก กลิ่นตัว กลิ่นภายในช่องคลอดให้ลดลงหรือหายไป
· ทำให้ผิวพรรณบนใบหน้าขาวนวล และมีเลือดฝาด
· ทำให้มดลูกต่ำและ อาการตกขาวดีขึ้น
· ช่วยรักษาอาการหน่วงเสียวมดลูก หรือเจ็บท้องน้อยเป็นประจำได้ดี
· ช่วยรักษาอาการปวดประจำเดือนอย่างรุนแรง
· มีผลในการลดหน้าท้องที่หย่อนยาน ซึ่งเกิดจากการคลอดบุตร
ทำให้หน้าท้องหดตัวและเล็กลง
· เสริมสร้างทรวงอกให้เต่งตึง กระชับ ไม่เหี่ยวย่น หย่อนยาน
ข้อห้าม
เนื่องจาก ว่านชักมดลูก มีส่วนในการช่วยขับน้ำดี จึงไม่ควรรับประทาน ในผู้ที่ท่อน้ำดีอุดตัน หรือมีนิ่วในถุงน้ำดี และพบว่า เนื่องจากมีผลต่อการทำงานของเกล็ดเลือด แม้จะเป็นงานวิจัยในกระต่ายก็ตาม เพื่อความปลอดภัยสูงสุด จึงไม่ควรรับประทานร่วมกับยาต้านเกล็ดเลือด เช่น แอสไพริน และยาละลายลิ่มเลือด ทุกชนิด
เนื่องจาก ว่านชักมดลูก มีส่วนในการช่วยขับน้ำดี จึงไม่ควรรับประทาน ในผู้ที่ท่อน้ำดีอุดตัน หรือมีนิ่วในถุงน้ำดี และพบว่า เนื่องจากมีผลต่อการทำงานของเกล็ดเลือด แม้จะเป็นงานวิจัยในกระต่ายก็ตาม เพื่อความปลอดภัยสูงสุด จึงไม่ควรรับประทานร่วมกับยาต้านเกล็ดเลือด เช่น แอสไพริน และยาละลายลิ่มเลือด ทุกชนิด
คุณเคยเจอปัญหาเหล่านี้บ้างมั้ย......... แต่ทุกปัญหามีทางออกเสมอ
หากสนใจสามารถสอบถามรายละเอียดได้ที่ 0859083178 (วราพร แคล้วศึก) สามารถปรึกษาเกี่ยวกับปัญหาของคุณผู้หญิงโดยเฉพาะ หรือดูรายละเอียดได้ที่ http://leadyxpannfit.blogspot.com หรือhttp://www.pannfit.blogspot.com
บล็อกสินค้าแนะนำ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น